วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2555

History of the New Year



 History of the New Year

 History of the New Year

The meaning of New Year's Day.
The meaning of New Year's Day Issue Royal Tong dictionary Graduate network location. The meaning of the word "year" in the following year, meaning a circle around the Earth once the Sun around 365 days for 12 month calendar

Background.

New Year's Day with history, which vary according to age and fitness. Since the time when people first started Brbioeenei invention of the calendar. Through each stage of the moon as a basis for the count after 12 months was defined as a year to ensure a fit between the calendar year with the seasonal year. Has added months to 1 month to 13 months in all four years.

Later, Egyptians, Greeks and people c wikis. Calendar Brbioeenei led people to modify Again several times to meet the season even more until the reign of King Juliet Caesar brought the idea of an astronomer Egyptian name Yo Sin Ye Nis improve the year with 365 days every four years to fill. 28-day month with an additional 1 day to 29 days in February is called a leap.

The increase in February has 29 days in every four days in the calendar year, but still not match the season Neu. Time is longer than a calendar year, seasonal Cause before the season arrives in the calendar.

In calendar year on March 21 every year is a time during the day and night are equal. Is the day that the sun is directly east. And a secret down at the west precisely Today the world is a 12-hour period was the same night called on daytime Equality March (Equinox in March).

But in the Year 2125 date back to the Equinox in March occurred on March 11 instead of March 21, so Pope Gregory, 13, is adjusted to deduct 10 days from the day calendar. And the day after the date of October 4, 2125 instead of on October 5, then changed to October 15 instead (in 2125 this year), this new calendar is called. Erini as Gregorian calendar. Then adjusted promulgated on January 1 is the start date of the year onwards.

Background. Thai New Year's Day.
In the past, the traditional Thai New Year Day has been changed four times: first day of the waning fall at a lunar month, Ai is a New Year's Day. Meet in January to the No. 2 New Year's Day falls on the fifth lunar month as a motto Brahmin Which corresponds to April.
Date has been set up in 2 years this fall at a lunar core. Later equate solar instead. The set April 1 as New Year's Day from the year 2432 onwards, however, most people especially the rural areas is still taken as Songkran. New Year's Day address. Later, when a change of government is democracy. Government that New Year's Day on April 1 will be carnival Aamnsoog much. Deserve to be revived. Has announced a festive New Year's Day on 1 April 2477 in Bangkok for the first time.

Event New Year's Day began on April 1 to spread to other provinces in coming years, and in the year 2479 there has been a new year around the fairgrounds all provinces. New Year's Day on April 1 at that time the government called. Ernuษ Songkran Day.

Later, with the change of New Year's Day again. The Cabinet appointed by the Board of Directors. The discourse of the Royal Fine. As Chairman. The meeting agreed unanimously to change the New Year on January 1 by a given date is January 1, 2484 New Year's Day onwards.

Why the government has changed the New Year's Day from April 1 as the date is January 1.
1. Not inconsistent with Buddhism in the Date and Celebrate New Year with philanthropy
2. It brings out how a Brahmin came across the Buddhist doctrine.
3. The international level to use in countries around the world.
4. Is a refreshing culture, ideology and customs of the Thai nation.

Activities, most Thais will abide in the New Year's Day were.
1. To put merit. It may put at home. Or go to temples or places of the official invitation to merit.
2. Respectfully wishes from adults. And greeting friends. The gift. Delivering a bouquet of flowers. Or send a greeting card.
3. Fairgrounds. Catering among friends. Relatives or by other agencies.
New Year's Day is a great opportunity to allow us to review the life of the past. To a bug that happened in the past to better

Events on New Year's Day.
January 1 of each year will be put merit and dedication of those who passed away a charity sermon preached Fish released birds greeting each other. May send cards or greeting cards. Kua's big respect adults to get together. And bathing the Buddha is decorated with flags and prepare to clean house. And shelter.

ประวัติความเป็นมา วันปีใหม่

ความหมายของ วันขึ้นปีใหม่
ความหมายของวันขึ้นปีใหม่ ตามพจนานุกรม ฉบับราชตบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคำว่า " ปี" ไว้ดังนี้ ปี หมายถึง เวลา ชั่วโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครั้งหนึ่งราว 365 วัน : เวลา 12 เดือนตามสุริยคติ

ประวัติความเป็นมา

วันปีใหม่ มีประวัติความเป็นมาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและความเหมาะสม ตั้งแต่ในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนียเริ่มคิดค้นการใช้ปฏิทิน โดยอาศัยระยะต่าง ๆ ของดวงจันทร์เป็นหลักในการนับ เมื่อครบ 12 เดือนก็กำหนดว่าเป็น 1 ปี และเพื่อให้เกิดความพอดีระหว่างการนับปีตามปฏิทินกับปีตามฤดูกาล จึงได้เพิ่มเดือนเข้าไปอีก 1 เดือน เป็น 13 เดือนในทุก 4 ปี

ต่อมาชาวอียิปต์ กรีก และชาวเซมิติค ได้นำปฏิทินของชาวบาบิโลเนียมาดัดแปลงแก้ไข อีกหลายคราวเพื่อให้ตรงกับฤดูกาลมากยิ่งขึ้นจนถึงสมัยของกษัตริย์จูเลียต ซีซาร์ ได้นำความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อ โยซิเยนิส มาปรับปรุง ให้ปีหนึ่งมี 365 วัน ในทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28 วัน เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน เป็น 29 วัน คือเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า อธิกสุรทิน

เมื่อเพิ่มในเดือนกุมภาพันธ์มี 29 วันในทุก ๆ 4 ปี แต่วันในปฏิทินก็ยังไม่ค่อยตรงกับฤดูกาลนัก คือเวลาในปฏิทินยาวกว่าปีตามฤดูกาล เป็นเหตุให้ฤดูกาลมาถึงก่อนวันในปฏิทิน

และในวันที่ 21 มีนาคมตามปีปฏิทินของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่มีเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน คือเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงทิศตะวันออก และลับลงตรงทิศตะวันตกเป๋ง วันนี้ทั่วโลกจึงมีช่วงเวลาเท่ากับ 12 ชั่วโมง เท่ากัน เรียกว่า วันทิวาราตรีเสมอภาคมีนาคม (Equinox in March)

แต่ในปี พ.ศ. 2125 วัน Equinox in March กลับไปเกิดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 21 มีนาคม ดังนั้น พระสันตะปาปาเกรกอรี่ที่ 13 จึงทำการปรับปรุงแก้ไขหักวันออกไป 10 วันจากปีปฏิทิน และให้วันหลังจากวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125 แทนที่จะเป็นวันที่ 5 ตุลาคม ก็ให้เปลี่ยนเป็นวันที่ 15 ตุลาคมแทน (เฉพาะในปี 2125 นี้) ปฏิทินแบบใหม่นี้จึงเรียกว่า ปฏิทินเกรกอเรี่ยน จากนั้นได้ปรับปรุงประกาศใช้วันที่ 1 มกราคม เป็นวันเริ่มต้นของปีเป็นต้นมา

ความเป็นมาของ วันขึ้นปีใหม่ไทย
ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้งแรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่ 2 กำหนดให้วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ตามคติพราหมณ์ ซึ่งตรงกับเดือนเมษายน
การกำหนดวันขึ้นปีใหม่ใน 2 ครั้งนี้ ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลัก ต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทน โดยกำหนดให้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ.2432 เป็นต้นมา อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่โดยเฉพาะตามชนบทยังคงยึดถือเอาวันสงกรานต์เป็น วันขึ้นปีใหม่อยู่ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทางราชการเห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ไม่สู้จะมีการรื่นเริงอะไรมากนัก สมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้นใน กรุงเทพฯเป็นครั้งแรก

การจัดงานวันขึ้นปีใหม่ที่ได้เริ่มเมื่อวันที่ 1 เมษายน ได้แพร่หลายออกไปต่างจังหวัดในปีต่อๆมา และในปี พ.ศ.2479 ก็ได้มีการ จัดงานรื่นเริงปีใหม่ทั่วทุกจังหวัด วันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ในสมัยนั้นทางราชการเรียกว่า วันตรุษสงกรานต์

ต่อมาได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยคณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้น ซึ่งมีหลวงวิจิตรวาทการ เป็นประธานกรรมการ ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคม โดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484 เป็น วันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป

เหตุผลที่ทางราชการได้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันที่ 1 เมษายนมาเป็นวันที่ 1 มกราคม ก็คือ
1. ไม่ขัดกับพุทธศาสนาในด้านการนับวัน เดือน และการร่วมฉลองปีใหม่ด้วยการทำบุญ
2. เป็นการเลิกวิธีนำเอาลัทธิพราหมณ์มาคร่อมพระพุทธศาสนา
3. ทำให้เข้าสู่ระดับสากลที่ใช้อยู่ในประเทศทั่วโลก
4. เป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรม คตินิยม และจารีตประเพณีของชาติไทย

กิจกรรมที่ชาวไทยส่วนใหญ่มักจะยึดถือปฏิบัติในวันขึ้นปีใหม่ได้แก่
1. การทำบุญตักบาตร โดยอาจตักบาตรที่บ้าน หรือไปที่วัดหรือตามสถานที่ต่างๆที่ทางราชการเชิญชวนไปร่วมทำบุญ
2. การกราบขอพรจากผู้ใหญ่ และอวยพรเพื่อนฝูง การมอบของขวัญ การมอบช่อดอกไม้ หรือการส่งบัตรอวยพร
3. การจัดงานรื่นเริง การจัดเลี้ยงในหมู่เพื่อนฝูง ญาติพี่น้องหรือตามหน่วยงานต่างๆ
วันขึ้นปีใหม่นับเป็นโอกาสดีที่จะทำให้เราได้ทบทวนถึงการดำเนินชีวิตในอดีต เพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในอดีตให้ดีขึ้น

กิจกรรมใน วันขึ้นปีใหม่
วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี จะมีการทำบุญตักบาตรและอุทิศส่วนกุศลผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ฟังเทศน์ ปล่อยปลา ปล่อยนก อวยพรซึ่งกันและกัน หรืออาจจะส่งการ์ดบัตรอวยพร ของขัวญไหว้ผู้ใหญ่เพื่อรับพร และสรงน้ำพระพุทธรูป ประดับธงชาติ และจะเตรียมทำความสะอาดบ้าน และที่พักอาศัย 



วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2555

Christmas

        เพื่อที่จะรักษาชีวิตของพระราชาเอาไว้ ชาวโมโสโปเตเมียนมีแนวคิดในการใช้ พระราชาหลอกๆ (น่าจะเป็นหุ่น) ซึ่งประดับตกแต่งด้วยเครื่องราชเต็มยศ เขาจะได้รับความเคารพ และมีเกียรติเหมือนพระราชาตัวจริงทุกประการ ในตอนท้ายของการเฉลิมฉลอง พระราชาหลอกๆก็จะถูกปลดเครื่องราช และถูกประหารชีวิต ส่วนพระราชาตัวจริงก็จะรอดชีวิตไป
The Persians and the Babylonians celebrated a similar festival called the Sacaea. Part of that celebration included the exchanging of places, the slaves would become the masters and the masters were to obey.
ชาวเปอร์เซียและชาวบาบิโลน มีเทศกาลเฉลิมฉลองคล้ายๆกัน เรียกว่า ซาเกีย (Sacaea) ส่วนหนึ่งของเทศกาลนี้คือ การสลับตำแหน่งกัน โดยทาสรับใช้จะเป็นนาย และเจ้านายจะเป็นผู้รับใช้
Early Europeans believed in evil spirits, witches, ghosts and trolls. As the Winter Solstice approached, with its long cold nights and short days, many people feared the sun would not return. Special rituals and celebrations were held to welcome back the sun.
ชาวยุโรปในยุคแรกๆมีความเชื่อในเรื่อง วิญญาณชั่วราย พอมด ภูตผี และปีศาจ ในวันที่มีช่วงกลางวันสั้นกว่ากลางคืน (Winter Solstice) ซึ่งเป็นวันที่มีค่ำคืนอันยาวนานและกลางวันที่สั้นกว่า หลายๆคนกลัวว่าพระอาทิตย์จะไม่กลับมา ดังนั้นจึงได้มีการประกอบพิธีกรรมเพื่อเฉลิมฉลองต้อนรับการกลับมาของพระอาทิตย์
In Scandinavia during the winter months the sun would disappear for many days. After thirty-five days scouts would be sent to the mountain tops to look for the return of the sun. When the first light was seen the scouts would return with the good news. A great festival would be held, called the Yuletide, and a special feast would be served around a fire burning with the Yule log. Great bonfires would also be lit to celebrate the return of the sun. In some areas people would tie apples to branches of trees to remind themselves that spring and summer would return.
ในเขตสแกนดิเนเวียนั้น ช่วงฤดูหนาวพระอาทิตย์จะหายไปหลายวัน หลังจาก 15 วันผ่านไป หน่วยสอดแนมจะขึ้นไปยังยอดเขาเพื่อรอคอยการกลับมาของพระอาทิตย์ เมื่อมีแสงตะวันปรากฎขึ้นพวกเขาจะกลับลงมาเพื่อบอกข่าวดี และจะมีการเฉลิมฉลองเทศกาลที่ยิ่งใหญ่เรียกว่า ยูลไทล์ และการเลี้ยงฉลองแบบพิเศษจะถูกจัดขึ้นรอบกองไฟโดยใช้ท่อนฟืนยูล มีการจุดคบกองไฟที่ยิ่งใหญ่เพื่อเฉลิมฉลองการกลับมาของพระอาทิตย์ ในบางพื้นที่ผู้คนจะนำผลแอปเปิ้ลไปผูกตามต้นไม้ เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจว่าฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนจะหวนคืนมาอีกครั้ง
The ancient Greeks held a festival similar to that of the Zagmuk/Sacaea festivals to assist their god Kronos who would battle the god Zeus and his Titans.
กรีกโบราณเฉลิมฉลองเทศกาลคล้ายกับ เทศกาลแสกมุคและสาเกีย เพื่อเป็นแรงสนับสนุนให้เทพโครโนสผู้ที่ต่อสู้กับเทพซีอุสและลูกสมุน
The Roman’s celebrated their god Saturn. Their festival was called Saturnalia which began the middle of December and ended January 1st. With cries of “Jo Saturnalia!” the celebration would include masquerades in the streets, big festive meals, visiting friends, and the exchange of good-luck gifts called Strenae (lucky fruits).
ชาวโรมันนั้นทำการเฉลิมฉลองแด่เทพแซทเทิร์น (god Saturn) พวกเขาเรียกเทศกาลนี้ว่า แซทเทิร์นนาเลีย ซึ่งเริ่มต้นช่วงกลางเดือนธันวาคม และสิ้นสุดวันที่ 1 เดือนมกราคม เทศกาลนี้ประกอบไปด้วยการพรางหน้าแล้วเดินไปตามถนนพร้อมตะโกนส่งเสียง โจ แซทเทิร์นนาเลียการเลี้ยงอาหารมื้อใหญ่ การไปพบปะเพื่อนๆ และการแลกเปลี่ยนของขวัญที่เรียกว่า สเตรแน (Strenae) (ผลไม้นำโชค)
The Romans decked their halls with garlands of laurel and green trees lit with candles. Again the masters and slaves would exchange places.
<!--[if !vml]--><!--[endif]-->ชาวโรมันประดับประดาห้องโถงด้วยพวงมาลัยบนต้นไม้ที่มีใบสีเขียว ทีประดับด้วยไฟเทียน และเป็นอีกครั้งหนึ่งที่นายและทาสต้องสับเปลี่ยนตำแหน่งกัน
“Jo Saturnalia!” was a fun and festive time for the Romans, but the Christians though it an abomination to honor the pagan god. The early Christians wanted to keep the birthday of their Christ child a solemn and religious holiday, not one of cheer and merriment as was the pagan Saturnalia.
โจ แซทเทิร์นนาเลียเป็นการเฉลิมฉลองที่สนุกสนานของชาวโรมัน แต่ชาวคริสเตียนคิดว่าเป็นการเทิดทูนบูชาเทพนอกรีตมากกว่า ชาวคริสเตียนในยุคแรกๆต้องการให้เป็นวันประสูตของพระเยซูน้อยมีความศักดิ์สิทธิ์ และเป็นวันหยุดทางศาสนา ไม่ใช่เทศกาลแห่งความสนุกสนานอย่าง แซทเทิร์นนาเลีย
But as Christianity spread they were alarmed by the continuing celebration of pagan customs and Saturnalia among their converts. At first the Church forbid this kind of celebration. But it was to no avail. Eventually it was decided that the celebration would be tamed and made into a celebration fit for the Christian Son of God.
แต่เมื่อคริสต์ศาสนาแพร่กระจายออกไป ก็ได้มีการตักเตือนผู้ที่เข้ามานับถือศาสนาเกี่ยวกับการจัดงานเฉลิมฉลองนอกรีตเช่นนี้ ตอนแรกคริสตจักรก็ได้มีการประกาศห้ามการเฉลิมฉลองเช่นนี้ แต่ก็ไม่เป็นผล ท้ายที่สุดก็ได้มีการตัดสินว่าการเฉลิมฉลองนี้จัดขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองบุตรชายของพระผู้เป็นเจ้า
Some legends claim that the Christian “Christmas” celebration was invented to compete against the pagan celebrations of December. The 25th was not only sacred to the Romans but also the Persians whose religion Mithraism was one of Christianity’s main rivals at that time. The Church eventually was successful in taking the merriment, lights, and gifts from the Saturanilia festival and bringing them to the celebration of Christmas.
บางตำนานกล่าวว่า พิธีเฉลิมฉลองคริสต์มาสของชาวคริสเตียนก็เพื่อเอาชนะการเฉลิมฉลองนอกรีตที่จัดขึ้นในเดือนธันวาคม วันที่ 25 ธันวาคมไม่ได้เป็นวันศักดิ์สิทธิ์เฉพาะชาวโรมันเท่านั้น แต่ยังรวมถึงชาวเปอร์เซียนศาสนาที่นับถือพระอาทิตย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในศาสนาคู่แข่งที่สำคัญของศาสนาคริสต์ แต่ท้ายที่สุดแล้วคริสตจักรก็มาประสบความสำเร็จได้เพราะการรับเอาความสนุกสนาน แสงไฟ และการมอบของขวัญซึ่งเป็นเทศกาลของแซทเทิร์นนาเลียมาใช้เฉลิมฉลองในวันคริสต์มาส
The exact day of the Christ child’s birth has never been pinpointed. Traditions say that it has been celebrated since the year 98 AD. In 137 AD the Bishop of Rome ordered the birthday of the Christ Child celebrated as a solemn feast. In 350 AD another Bishop of Rome, Julius I, choose December 25th as the observance of Christmas.
วันประสูติที่แท้จริงของพระเยซูน้อยนั้นไม่เคยกล่าวถึง แต่มีการกล่าวว่าการเฉลิมฉลองนั้นมีมาตั้งแต่ ค.ศ. 98 ในปี ค.ศ. 137 สังฆราชของโรมมีบัญชาให้การเฉลิมฉลองวันประสูติของเยซูน้อยเป็นพิธีการที่ศักสิทธิ์ ในปี ค.ศ. 350 สังฆราชอีกองค์ของโรม นามว่าจูเลียส1 ได้เลือกวันที่ 25 เป็นวันเฉลิมฉลองคริสต์มาส
In the late 300′s, Christianity became the official religion of the Roman Empire. By 1100, Christmas had become the most important religious festival in Europe, and Saint Nicholas was a symbol of gift giving in many European countries. During the 1400′s and 1500′s, many artists painted scenes of the Nativity, the birth of Jesus. An example of these works appears in the Jesus Christ article in the print version of The World Book Encyclopedia.
<!--[if !vml]--><!--[endif]-->ในปลายปี ค.ศ. 300 คริสตศาสนาได้กลายเป็นศาสนาอย่างเป็นทางการของอาณาจักรโรม ราวปี ค.ศ. 1100 คริสต์มาสได้กลายเป็นเทศกาลทางศาสนาที่สำคัญที่สุดในยุโรป และเซนต์นิโคลัสได้เป็นสัญลักษณ์ของการให้ในหลายประเทศในยุโรป ในช่วงปี ค.ศ. 1400 และ 1500 ศิลปินหลายท่านได้วาดภาพฉากการประสูติของพระเยซูคริสต์ ตัวอย่างของชิ้นงานเหล่านี้ปรากฎในบทความเกี่ยวกับพระเยซูคริสต์ในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์สารานุกรมของโลก (World Book Encyclopedia)
The popularity of Christmas grew until the Reformation, a religious movement of the 1500′s. This movement gave birth to Protestantism. During the Reformation, many Christians began to consider Christmas a pagan celebration because it included nonreligious customs. During the 1600′s, because of these feelings, Christmas was outlawed in England and in parts of the English colonies in America. The old customs of feasting and decorating, however, soon reappeared and blended with the more Christian aspects of the celebration.
ความนิยมในเทศกาลคริสต์มากเพิ่มขึ้นเรื่อยจนกระทั่งมีการปฏิรูปศาสนา เป็นการเคลื่อนไหวทางศาสนาในปี 1500 เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดนิกายโปรเตสแตนท์ขึ้นมา ในช่วงของการปฏิรูปศาสนานั้น ชาวคริสเตียน หลายๆคนเริ่มพิจารณากันว่า เทศกาลคริสต์มาสเป็นการเฉลิมฉลองนอกรีต เพราะว่ามีการรวมเอาสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนารวมอยู่ด้วย ในช่วงปี ค.ศ. 1600 ความรู้สึกเช่นนี้ทำให้เทศกาลคริสมาสต์เป็นสิ่งที่ผิดในประเทศอังกฤษและในประเทศอาณานิคมของอังกฤษในอเมริกา อย่างไรก็ตามประเพณีในแบบดั้งเดิมของการเฉลิมฉลองและการประดับประดาตกแต่ง ก็หวนกลับมาอีกครั้ง ซึ่งเป็นการผสมผสานให้เป็นการเฉลิมฉลองในแง่ของศาสนามากขึ้น


สุขสันต์วันคริสมัสมีความสุขมากๆ น่ะ ครับ


อ้างอิง
 http://www.thehistoryofchristmas.com/christmas_history.htm (เนื้อหาภาษาอังกฤษ)

http://en.wikipedia.org/wiki/Christmas (ภาพประกอบ)

video


วันจันทร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555

การใช้อินเทอร์เน็ต



1.เว็บเบราว์เซอร์ (web browser) เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเว็บ

1.1รายชื่อเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ที่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
Internet Explorer
  Mozilla Firefox
  Google Chrome
       Safari,ฯลฯ
2.เสิร์ชเอนจิน (search engine) คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต 
         2.1search engine ของไทย
http://www.thailander.com,ฯลฯ
          2.2 search engine ของต่างประเทศ
3. e-mail คือ e-mail เป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
         3.1ที่ใช้ฟรีในการส่ง Mail ฟรี ได้แก่ MS Outlook,MS Outlook Express,Thunder Bird,ฯลฯ
        3.2 นักเรียนที่สมัคร Mail ได้แล้ว ข้อมูลจำเป็นในการเข้าใช้ E-Mail คือ ID Password
        3.3Log in หมายถึง การเข้าสู่ระบบ …………Log out หมายถึง การออกจากระบบ
         3.4Sign up หมายถึง ลงชื่อสมัคร…………...Sign in หมายถึง ลงชื่อเข้า
4.บอกชื่อ Program ที่ใช้ในการจัดทำเอกสาร
         Microsoft Office
         Adobe Reader
        Adobe Photoshop,ฯลฯ


วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555